มารู้จักกับถ่านที่ใช้กับเครื่องช่วยฟังกันเถอะ

อย่างที่ทุกคนคงทราบกันแล้วว่าเครื่องช่วยฟังเป็นอุปกรณ์ Electronicของขนาดเล็กที่เอาไว้ใส่ในหูเพื่อช่วยให้คนที่ไม่ได้ยินเสียงกลับมาได้ยินเสียงชัดเจนเหมือนเดิม 

การใช้เครื่องช่วยฟังไม่ได้ยุ่งยากอะไร และการเก็บรักษาทำความสะอาดทางบริษัทที่ผลิตเครื่องช่วยฟังก็มีอุปกรณ์ที่จะเอาทำความสะอาดเครื่องช่วยฟังมารองรับการใช้งานอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่ได้มีปัญหายุ่งยากอะไรในการใช้งาน แต่ เครื่องช่วยฟัง ในปัจจุบันนั้น ใช้เป็นถ่าน ซึ่งถ่านของเครื่องช่วยฟังจะเป็นถ่านเฉพาะเอาไว้ใช้สำหรับเครื่องช่วยฟังเท่านั้น

เราไม่สามารถใช้ถ่านอย่างอื่นมาแทนกันได้เพราะจะสร้างความเสียหายให้กับเครื่องช่วยฟัง  ถ่านของเครื่องช่วยฟังจะมีหน้าที่ปล่อยกระแสไฟฟ้ามายังตัวเครื่องช่วยฟังเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ฟังเสียงได้ชัดเจน ซึ่งกระแสไฟฟ้าที่ปล่อยออกมา ตลอดระยะเวลาที่มีการใช้งานเครื่องช่วยฟังจะต้องปล่อยไฟฟ้าออกมาอย่างสม่ำเสมอ ถ้ากระแสไฟฟ้าส่งออกมาไม่สม่ำเสมอจะมีผลทำให้เครื่องช่วยฟังเสียได้ง่ายและการได้ยินก็จะไม่ชัดเจน

ดังนั้นเราควรเลือกซื้อเครื่องช่วยฟังที่ได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นถ่านแบบ Zinc Air ซึ่งถ่านแบบนี้จะมีขนาดเล็กๆเป็นถ่านที่ใช้หมดแล้วทิ้งไม่สามารถชาร์จแล้วนำกลับมาใช้งานใหม่ได้ และปัจจุบันเครื่องช่วยฟังก็นิยมใช้ถ่านชนิดนี้กันทั้งนั้น หากจะถามว่าถ่านแต่ละก้อนมีอายุการใช้งานนานแค่ไหนคงไม่สามารถบอกได้เพราะขึ้นอยู่กับการใช้งานของเครื่องช่วยฟังของแต่ละคน แต่ส่วนใหญ่แล้วเมื่อมีการใช้งานก็จะสามารถใช้งานได้ประมาณ 10-20 วันถ่านก็จะหมดต้องเปลี่ยนถ่านใหม่

ปัจจุบันมีการปรับปรุงถ่านของเครื่องช่วยฟังให้มีคุณสมบัติรักษาสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นการทำลายทำธรรมชาติ ด้วยการไม่ใส่สารปรอทเข้าไปในถ่าน ซึ่งเมื่อเทียบกับเมื่อก่อนที่มีการใส่สารปรอทแล้วทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษการทำลายถ่านค่อนข้างยุ่งยาก ซึ่งเมื่อมีการพัฒนาถ่านที่เอาไว้สำหรับใช้กับเครื่องช่วยฟังก็เป็นการส่งเสริมให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นและคุณสมบัติการทำงานยังเหมือนเดิมผู้คนส่วนใหญ่จึงหันมาใช้ถ่านแบบใหม่กัน

ลักษณะของถ่านของเครื่องช่วยฟังจะมีลักษณะเป็นก้อนกลมๆเล็กๆ และจะมีรูเล็กๆตรงกลางถ่านโดยมีสติกเกอร์สีแปะอยู่หากจะใช้งานก็แค่ดึงสติกเกอร์นั้นออก เพื่อให้ถ่านมีพลังงานเต็มก้อน ควรรอให้ออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยากับท่านสักประมาณ 2 นาทีแล้วค่อยใช้งาน และเมื่อใช้งานถ่านหมดก้อนก็ทิ้งได้เลย เพราะไม่มีผลอะไรต่อสิ่งแวดล้อม

สำหรับถ่านจะมีทั้งหมด 4 ขนาดคือ เบอร์ 10 มีขนาดเล็กสุด  ,   เบอร์ 13 มีขนาดกลางแต่หนา   ,  เบอร์ 312 มีขนาดกลางแต่บาง และเบอร์ 675 มีขนาดใหญ่สุด  ส่วนราคาสามารถเช็คได้ตามร้านที่ขายถ่านเครื่องช่วยฟัง

การดูแลเด็กที่เป็นโรคหูหนวก

         อย่างที่เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการหูหนวกนั้นมักจะเกิดมาก่อนที่จะเด็กจะเกิดคือ การมีอาการผิดปกติตั้งแต่อยู่ในครรภ์ของแม่ โดยมีเหตุผลมาจากหลายสาเหตุ เช่น ขณะที่ตั้งครรภ์แม่อาจจะประสบอุบัติเหตุ

ขณะตั้งครรภ์แม่ทานยาที่มีผลต่อเด็กในครรภ์แล้วไปกระทบอวัยวะภายในหูของลูก หรือแม้แต่ความผิดปกติของการเจริญเติบโตของตัวลูกเองตอนอยู่ในครรภ์ ดังนั้นเด็กกลุ่มนี้เมื่อคลอดออกมาก็จะมีปัญหาตามมามากมาย เช่น

ปัญหาด้านภาษา

จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่เด็กที่หูหนวกมาตั้งแต่เกิดจะมีปัญหาการพุดไม่ได้พ่วงด้วย เพราะเด็กจะไม่ได้ยินในส่งที่เราพูดหรือจะสื่อสารด้วย ทำให้เขาไม่เข้าใจและไม่สามารถที่จะทำตามได้ เมื่อเราสอนที่จะให้เข้าพูดแต่ถ้าเขาไม่ได้ยิน เขาก็จะไม่สามารถพูดตามเราได้จึงเป็นที่มาของเด็กที่หูหนวกมักจะเป็นใบ้ควบคู่กันเสมอ

มีปัญหาด้านการเข้าสังคม

เพราะเด็กที่เป็นใบ้มักรับรู้ได้ถึงความแตกต่าง และหากเขาไปอยู่ในสังคมที่เปิดโอกาสไม่ยอมรับคนหูหนวกจะทำให้พวกเขารู้สึกเครียดและน้อยใจได้ และที่สำคัญเด็กเหล่านี้มักจะถูกเด็กที่ปกติกลั่นแกล้งเสมอ

มีปัญหาด้านอารมณ์

อย่าลืมว่าเด็กที่หูหนวกมักจะสื่อสารกับคนอื่นให้เข้าใจลำบาก ทั้งตัวเขาเองก็ไม่ได้ยินที่เราพูดและตัวเราที่อาจจะเข้าใจสิ่งที่เขาต้องการจะสื่อไม่ครบถ้วน ดังนั้นเด็กมักจะมีการปรวนแปรทางด้านอารมณ์มากกว่าเด็กปกติเป็นพิเศษ เช่นมักโกรธและหงุดหงิดง่าย และมักจะชอบให้คนอื่นมาคอยเอาใจตามใจ และหากเด็กไปเจอกับสังคมที่ยังไม่เปิดรับคนหูหนวกได้หรือไปเจอคนที่มีการแสดงท่าทางรังเกียจเด็กที่เป็นโรคหูหนวก อาจจะกลัวการเข้าสังคมเพราะความอาย หรือบางครั้งอาจทำให้เด็กมีปัญหาสุขภาพจิตได้

สำหรับเด็กที่มีปัญหาเรื่องการได้ยินหรือเป็นโรคหูหนวกนั้น

ต้องการความรักความเอาใจใส่เป็นพิเศษจากพ่อแม่ ดังนั้นหากเขาสังเกตเห็นพฤติกรรมของพ่อหรือแม่หรือคนในนครอบครัว มีอาการรังเกียจเขาจะทำให้เด็กคิดมากกลายเป็นเด็กขาดความอบอุ่นได้

          ดังนั้นเราจึงควรให้ความรัก ความอบอุ่นกับเด็กให้มากที่สุดแสดงให้เขาเห็นว่าเขามีความสำคัญต่อทุกคนในครอบครัวและปัญหาที่เขากำลังเป็นอยู่ไม่ได้เป็นอุปสรรคกับการใช้ชีวิตของเขาเลย เราสามารถแก้ไขปัญหาการได้ยินนี้ได้ด้วยการให้เขาช่วย เครื่องช่วยฟัง เพราะจะช่วยให้เขาสามารถได้ยินเสียงและสามารถตอบโต้กับคนอื่นได้

พยายามพูดคุยกับเขาอย่างสม่ำเสมอด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม และพยายามพาเขาออกไปทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่นบ่อยๆ เพื่อให้เขาเคยชินกับการเข้าสังคมและอยู่กับสังคมภายนอกได้อย่างมีความสุข

การอั้นปัสสาวะบ่อยเกินไปส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร

การที่เรานั้นอั้นปัสสาวะบ่อยเกินไป 

ภาวะปัสสาวะบ่อยเกินไป  เป็นภาวะที่ส่งผลกระทบต่อการที่เราใช้ชีวิตประจำวันของผู้ที่ป่วย บางรายไม่รู้ตัวว่าเป็นอยู่หรือไม่ รู้ตัวว่ามีอาการส่อแววว่าเข้าข่ายโรคนี้ โดยผู้ที่เป็นโรคนี้จะมีอาการปวดปัสสาวะบ่อยเหมือนคนทั่งไปและทุกครั้งที่มีอาการว่าจะปวดนั้นมีอาการที่รุ่นแรงที่เข้าห้องน้ำให้ได้อาจปวดทุกชั่วโมงจนทำให้เรานั้นไม่ต้องทำอะไรแม้แต่ตอนกลางคืนนั้นก็ทำให้เรานั้นนอนไม่ได้เพราะว่าต้องลงมาเข้าห้องน้ำสร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ที่เป็นอย่างมาก 

ในภาวะคนที่ปกติถ้ามีน้ำอยู่ในท่อปัสสาวะสักครึ่งหนึ่งของกระเพาะโดยคนทั่วไปนั้นจะรู้สึกว่าหน่วงๆยังไม่ถึงขั้นว่าปวดแต่ถ้าเรานั้นเดินผ่านห้องน้ำเรานั้นก็ฉี่ออกเพื่อที่ปลดปล่อยแต่ถ้าเรานั้นยังไม่เจอห้องน้ำหรือว่าเราต้องทำอะไรอยู่ก็แล้วแต่โดยที่เรานั้นไม่ได้ปวดเราก็ยังทำงานนั้นต่อเพราะว่ายังไม่ได้ปวดอะไรมากมาย

แต่ถ้าหากเป็นคนที่ผิดปกตินั้นเมื่อกระเพาะปัสสาวะนั้นบีบตัวจนมากเกินจนทำให้เรานั้นทนไม่ไหวที่ต้องไปเข้าห้องน้ำส่วนคนที่เป็นนั้นจะเข้าห้องน้ำทุกชั่วโมงเวลาที่เรานอนนั้นยังต้องลุกมาเข้าห้องน้ำเลยเวลาที่ปวดนั้นจะปวดมากขนาดนอนอยู่นั้นเวลาปวดยังต้องลุกขึ้นมาเข้าห้องน้ำจนทำให้เรานั้นรู้สึกว่านอนไม่เพียงพอ

จนบางครั้งทำให้เรานั้นฉี่ราดออกมาเลยแต่สาเหตุที่แน่ชัด

ยังไม่ทราบแต่ว่าสรุปได้คราวๆได้ว่ามีบางอย่างรบกวนการทำงานของกระเพาะปัสสาวะแต่อย่างไรก็ตามอาจมีโรคอื่นที่ไม่ใช่กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวเกินไปเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน หากมีการพบแพทย์ แพทย์จะทำการตรวจหาโรคอื่นก่อน เช่นตรวจสอบอาการอักเสบของท่อปัสสาวะหรือไม่ ตรวจว่ามีเลือดแดงปนอยู่ในกระเพาะปัสสาวะหรือไม่ หรืออาจตรวจเลือดหาความผิดปกติ

และก็ตรวจดูการทำงานของไต ว่ามีความบกพร่องหรือมีการกลั้นปัสสาวะบ่อยเกินไปหรือไม่ อาจจะให้คนไข้จดบันทึกว่าภายใน  24 ชั่วโมง มีการดื่มน้ำเท่าไหร่ดื่มน้ำชนิดไหนบ้าง เช่น น้ำเปล่า น้ำส้ม กาแฟ เป็นต้น และดื่มน้ำในปริมาณเท่าไหร่ มีการถ่ายปัสสาวะกี่ครั้ง เวลาไหนบ้าง มีการอาการอื่นร่วมหรือไม่ เพื่อทำการประเมินต่อไป ระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการจดบันทึกคือ 3 วัน จากนั้นแพทย์จะประเมินจากข้อมูลเหล่านั้นเพื่อหาสาเหตุของการขับถ่ายปัสสาวะที่บ่อยกว่าคนปกติ 

เพราะในผู้ป่วยบางรายพบว่ามีพฤติกรรมดื่มน้ำบ่อยทั้งร่างกายยังไม่ทันขาดน้ำอาจเกิดจากอาการคอแห้งบ่อย ก้เป็นสาเหตุให้ปัสสาวะบ่อยกว่าคนปกติหรือว่าบางคนชอบทานผลไม้ที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบมากก็ทำให้ปัสสาวะบ่อยได้เช่นกัน 

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย ชุดตรวจ hiv

กระเจี๊ยบเขียว กับประโยชน์ที่คุณอาจไม่เคยรู้

กระเจี๊ยบเขียว กับประโยชน์ที่คุณอาจไม่เคยรู้
ถ้าเกิดจะกล่าวว่าคนญี่ปุ่นนิยมทานกระเจี๊ยบเขียว ทุกคนจะเชื่อหรือไม่คะ? ทานใหม่ๆ นำไปปรุงอาหารต่างๆสารพันรายการอาหารอีกต่างหาก ขนาดไปเวียดนาม ตรงนั้นยังเสิร์ฟกระเจี๊ยบเขียวให้มาย่างทานกันใหม่ๆ อีกด้วย ไม่ใช่แค่รสที่ดี แต่เพราะว่าคุณประโยชน์ที่เยี่ยมของกระเจี๊ยบเขียวนี่แหละ ที่ทำให้ใครๆ ก็หามาทานกันมากเลยทีเดียว โดยจะมีประโยชน์ในด้านใดบ้าง ไปดูกันเลย

คุณประโยชน์ขั้นเทพของ “กระเจี๊ยบเขียว”
1. ช่วยลดน้ำตาลในเลือด เหมาะกับคนไข้โรคเบาหวาน แล้วก็ผู้ที่กำลังควบคุมน้ำตาล-น้ำหนัก

2. ลดท้องผูก เพราะเหตุว่ามีเมือกที่ช่วยทำให้อุจจาระอ่อนตัวขึ้น และก็ยังมีใยอาหารที่ดีต่อการขับถ่าย

3. ลดคอเลสเตอรอลภายในร่างกาย

4. ลดการเสี่ยงสำหรับเพื่อการเป็นโรคกระเพาะ เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ และลำไส้อักเสบได้

5. คนไหนที่เป็นโรคกระเพาะอยู่แล้ว การทานกระเจี๊ยบเขียวพร้อมเมือกเหนียวๆ ใสๆ จะช่วยเข้าไปเคลือบฉาบแผลในกระเพาะได้อีกด้วย

6. ฝักกระเจี๊ยบต้มเกลืออ่อนๆ สามารถแก้ลักษณะของกรดไหลย้อนได้

7. มีโฟเลตสูง ช่วยสร้างเสริมเม็ดเลือดแดง รวมทั้งเป็นสิ่งสำคัญต่อความก้าวหน้าของลูกน้อยในท้อง ด้วยเหตุนั้นก็เลยเหมาะสมกับหญิงท้อง

แนวทางในการรับประทานกระเจี๊ยบเขียว
สามารถหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ทานสดๆ ใหม่ๆ ได้เลย หรือไม่ก็อาจจะนำไปทำกับข้าวกับรายการอาหารอื่นๆ นำไปปิ้งด้วยไฟอ่อนๆ หรือจะทานผสมกับน้ำผึ้ง น้ำมะนาว หรือไอศกรีมก็ได้เลย

ป่วยโรคไต ทรมานกว่าที่คิด

ผู้ป่วย “โรคไต” มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี เพราะว่าหากป่วยเป็นโรคไตแล้วการรักษาจะเป็นแค่เพื่อพยุงอาการไว้ เพราะเป็นแล้วรักษาไม่หาย ข้อนี้เป็นความจริงที่คนเป็นโรคไตทุกคนต้องเจอ. ซี่งนอกจากความจริงนั้นแล้วยังมีอีกหลายอาการที่สร้างความลำบากและทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลง

1. คนเป็นโรคไต จะไม่มีเรี่ยวแรงและมักปวดหัวง่าย เพราะเมื่อไตทำงานได้ไม่ปกติ เพราะผู้ป่วยโรคไตจะมีฮอร์โมนที่ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ซึ่งเม็ดเลือดแดงน้อยลงทำให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายส่วนต่างๆ น้อยลง ทำให้ร่างกายและสมองอ่อนล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง

2. คนเป็นโรคไต นอนหลับยาก เมื่อไตทำงานได้ไม่เต็มที่จึงขับสารพิษออกทางปัสสาวะได้ไม่หมด เหลือตกค้างตามเส้นเลือด เมื่อสะสมมากเข้าก็จะทำให้นอนไม่หลับ หากเป็นมากอาจถึงขั้นหยุดหายใจนานเป็นนาทีระหว่างหลับได้เลย นอกจากนั้นยังปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน สีและกลิ่นก็ไม่ปกติ เป็นฟอง ต้องชักโครกหลายครั้งจึงหมด

3. คนเป็นโรคไต มีกลิ่นปาก และภายในช่องมีรสชาติคล้ายโลหะ เพราะของเสียที่อุดตันตกค้างในเส้นเลือดจะไปเปลี่ยนรสชาติอาหาร และทำให้ปากมีรสชาติเหมือนกินเหล็กเข้าไป ทำให้ผู้ป่วยโรคไตจะมีกลิ่นปากเมื่อสะสมสารพิษมากขึ้น นอกจากนี้สิ่งที่ตามมาคืออาการเบื่ออาหารนั่นเอง

4. คนเป็นโรคไต มักหายใจถี่ หายใจไม่ออก เมื่อไตทำงานผิดปกติ ขับน้ำได้ไม่ดีส่วนเกินของน้ำนั้นจะเข้าไปที่ปอดหรือในบางคนที่เป็นโรคโลหิตจางสืบเนื่องจากโรคไตจะใช้ออกซิเจนเยอะ จนร่างกายต้องหายใจลำบาก

5. คนเป็นโรคไต มีผิวแห้งและคัน ไตที่ไม่ปกติจะขับของเสียออกจากร่างกายได้ไม่ดี ส่งผลต่อความสมดุลของร่างกายที่อาจจะขาดแร่ธาตุบางอย่าง หรือมีมากเกินไปนั่นเอง เมื่อสูญเสียความสมดุลของแร่ธาตุก็จะทำให้ผิวแห้งและคัน ซึ่งมีผลต่อเนื่องร้ายแรงไปสู่โรคกระดูกได้ด้วย

6. คนเป็นโรคไต มักปวดหลังและปวดขา บางครั้งมีอาการอื่นด้วย เช่น อาเจียน คลื่นไส้ ซึ่งอาจเกิดจากซีสต์ในไต แบบนี้กินยาแก้ปวดก็ไม่หาย

7. คนเป็นโรคไต มีความดันสูง เพราะไตทำงานเชื่อมโยงกับหลอดเลือด ไตเสียหาย หลอดเลือดก็เสียหาย จึงลำเลียงออกซิเจนได้ไม่ดี ทำให้มีความดันโลหิตสูง

การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคกระเพาะ

โรคกระเพาะกับยารักษา
ในการรักษาเบื้องต้นของโรคกระเพาะ จะพบว่าแพทย์จะรักาตามอาการพร้อมให้ยา โดยยาที่รักษาสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร และยากระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหาร โดยยาลดกรดในกระเพาะอาหารแพทย์จะนิยมให้ใช้หากมีแผลในกระเพาะและให้ทานต่อเนื่องเป็นเวลา 6 – 8 สัปดาห์ หรือจนกว่าแผลจะหาย โดยจะต้องส่งกล้องดูเพื่อวินิจฉัยเท่านั้น ผู้ป่วยที่ไม่พบอาการเหล่านี้ แพทย์จะรักษาด้วยวิธีอื่น โดยจะแนะนำให้ทานยาลดกรดต่อเมื่อมีอาการผิดปกติ ส่วนยาประเภทอื่นๆ อาทิ ยาขับลม ก็แนะนำว่าให้กินเฉพาะตอนที่มีอาการแน่นท้องจากลมที่เกิดขึ้นมากในกระเพาะอาหาร โดยกินในเวลาที่มีอาการได้ตามต้องการ

การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคกระเพาะ
1. รับประทานอาหารให้ตรงเวลา เพราะนี่คือสาเหตุแรกๆ เลย ที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะ และคนส่วนใหญ่มักจะไม่มีเวลาทานอาหารหรืองดไปบางมื้อ ทั้งนี้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหารให้ดีขึ้นด้วย

2. รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย และควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียด

3. หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร เช่น ยาชุด ยาแก้ปวดข้อ ยาแก้ปวดแอสไพริน ยาที่มีสเตียรอยด์ น้ำอัดลม อาหารรสจัด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อาหารหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ช็อคโกแลต ชา กาแฟ เป็นต้น

4. งดสูบบุหรี่

5. อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อไม่ควรมีปริมาณมากเกินไป เพราะจะทำให้เกิดอาการจุกเสียดแน่นท้อง

6. ถ้าเครียดพยายามลดความเครียด เช่น ดูหนัง ฟังเพลง ทำสมาธิ การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เป็นต้น

7. หมั่นออกกำลังกาย เพื่อให้ระบบในร่างกายเราทำงานอย่างสมดุล

8. รับประทานยาลดกรด ยาน้ำ 1 – 2 ช้อนโต๊ะ หรือยาเม็ด 1 – 2 เม็ด (เคี้ยวก่อนกลืน) วันละ 4 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็นหลังอาหาร 1 ชั่วโมง และก่อนนอน กรณีมีอาการปวดท้องก่อนเวลายาสามารถรับประทานเพิ่มได้และควรรับประทานยาติดต่อกันนานอย่างน้อย 4 – 8 สัปดาห์

9. ถ้าปฏิบัติตามนี้แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล เพื่อการตรวจวินิจฉัยที่แน่นอน

10. รับประทานยาสม่ำเสมอตามที่แพทย์แนะนำ

ติดเค็ม ทำอย่างไรดี ส่งผลอะไรบ้าง

การชื่นชอบอาหารรสเค็มยังคงเป็นที่รักตัวคนไทย โดยจะเห็นได้ว่ารายการอาหารต่างๆ ที่มีอยู่ โดยเฉพาะอาหารที่อยู่ตามร้านอาหารที่เราสั่งมาทานที่บ้าน หรือที่ร้าน แทบทุกจาน ทุกกล่องล้วนมีโซเดียมในปริมาณที่สูง ซึ่งโดยปกติแล้วเครื่องปรุงเกือบทุกชนิดก็ดันมีโซเดียมเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วยเสมอ ดังนั้น ในอาหารแต่ละมื้อที่ทานเข้าไปก็มีส่วนของโซเดียมอยู่แล้วด้วยเสมอ เนื่องด้วยเหตุผลที่กล่าวมาในเรื่องเครื่องปรุง และรวมเข้ากับนิสัย “ติดการปรุง” แบบรสจัด เค็มจัด หวานจัดเปรี้ยวจัด ด้วยเหตุผลเหล่านี้จึงทำให้ทุกๆ วัน คนเราเผลอบริโภคโซเดียมเข้าไปในปริมาณที่เกินพอดี และเป็นผลเสียคือกลายเป็นการสะสมแล้วส่งผลร้ายต่อร่างกาย

คราวนี้เรามาคิดกันดีกว่าค่ะ ว่าจะทำอย่างไรถึงจะหยุดติดเค็มเลิกกินเค็มได้? หรือจะลองใช้เทคนิควิธีจาก  ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม ซึ่งได้แนะนำ 6 วิธีห่างไกลจากการติดเค็ม ได้แก่

1.ควรชิมก่อนปรุงทุกครั้งว่ารสชาตินั้นพอเหมาะแล้วหรือไม่ หากรสชาติดีอยู่แล้วหรือค่อนข้างมีรสที่ดีก็เพียงพอแล้วไม่ควรเติมเพิ่ม เพราะรสชาติของอาหารทุกจานได้ผ่านการปรุงมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นรสชาติของความเค็มหรือมีโซเดียมสูงอยู่แล้ว ถ้าหากเราไม่ชอบชิมแล้วปรุงเพิ่มเข้าไปเลยก็จะยิ่งทำให้ได้รับโซเดียมเข้าไปในร่างกายเพิ่มมากขึ้น

2.ลดการบริโภคอาหารแปรรูป อย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้นว่า อาหารแปรรูปหรืออาหารสำเร็จรูปนั้นมีส่วนผสมของโซเดียมมากอยู่แล้ว ดังนั้น ควรลด แล้วหันมาทำอาหารรับประทานเองในแต่ละมื้อบ้าง โดยเน้นซื้อวัสถุดิบหรือใช้วัสถุดิบประเภทของสดมาทำกับข้าวเองปรุงเอง โดยปรุงให้น้อยที่สุดก็จะช่วยลดปริมาณโซเดียมลงไปได้

3.ลดการใช้น้ำจิ้ม เพราะน้ำจิ้มถือเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งที่ทำให้คนไทยได้รับโซเดียมสูง และอีกหนึ่งนิสัยเสียของคนไทยคือ ชอบราดน้ำจิ้มเยอะๆ หรือจิ้มน้ำจิ้มมาก ๆ ซึ่งตัวอาหารบางอย่างก็มีโซเดียมอยู่แล้ว

4.ลดการกินน้ำซุปซดน้ำซุป เน้นรับประทานเฉพาะเส้นและเครื่องเคียง หลายๆ คน คงเคยชินกับการซดน้ำซุปด้วยความอร่อยของอาหาร หรือเป็นนิสัยที่ชอบการซดน้ำซุปร้อนๆ อยู่แล้ว ควรหยุดพฤติกรรมแบบนี้ เพราะหากคุณหยุดได้ คุณจะสามารถลดปริมาณโซเดียมที่จะได้รับในแต่ละวันลงไปได้ ซึ่งน้ำซุปมีการเติมซอสปรุงรส หรือผงปรุงรสลงไป ซึ่งถือว่ามีโซเดียมปริมาณสูงมาก

5.ลดการกินน้ำปรุง แม้ว่าอาหารนั้นจะอร่อยมากแค่ไหนก้ตาม เพราะมันจะช่วยลดโซเดียมลงได้อย่างมากเช่นกัน โดยเฉพาะอาหารประเภทยำ ส้มตำ ถือเป็นอาหารจานโปรดของคนไทยจำนวนมาก ซึ่งน้ำยำหรือน้ำส้มตำมีการเติมผงปรุงรสที่มีโซเดียมสูง

6.ลดความถี่ในการกินอาหารที่มีส่วนประกอบของไตปลา ปลาร้า พริกแกง และกะปิ อันเป็นเครื่องปรุงที่คนไทยชอบกิน ซึ่งวิธีในการทำอาหารทั้ง 4 อย่าง ทำให้มีโซเดียมผสมอยู่แล้ว และหากมีการปรุงรสเพิ่มเข้าไปอีก ก็ยิ่งได้โซเดียมจากสารปรุงรสเข้าไป

5 วิธี กินอิ่ม หิวน้อย

ศัตรูที่น่ากลัวที่สุดที่คอยขัดขวางทางในการลดน้ำหนักของเราอยู่เสมอ คงหนีไม่พ้น “ความหิว” เพราะความหิวนี่แหละที่ทำให้ต้องตบะแตก คว้าอาหาร ขนมนมเนยในตู้เย็นมากินตอนดึกอยู่เรื่อยไป แต่คนมันหิว ต้องทำอย่างไร ? มีวิธีช่วยให้กินอาหารแล้วอิ่มอยู่ท้องไปนาน ๆ ไม่หิวกลางดึกมาฝากกัน

5 วิธี กินอย่างไรให้ “หิว” น้อยที่สุด
หลายครั้งที่เราอาจสับสนระหว่าง “หิว” กับ “อยาก” เคยเกิดอาการอยากกินอาหารขึ้นมาเฉย ๆ เมื่อนั่งดูละคร แล้วมีฉากกินอาหารบ้างไหม ? ก่อนเดินไปคว้าอาหารเข้าปาก หรือกดสั่งอาหารผ่านมือถือ ลองนึกดูก่อนว่าอาหารล่าสุดที่เรากินคืออะไร และกินไปเมื่อไร และตอนนี้เป็นเวลาเท่าไรแล้ว ถ้าเพิ่งกินเมื่อไม่กี่ชั่วโมง และเวลาก็ดึกมากแล้ว ควรข้ามมื้อย่อยนั่นไปก่อน

เน้นโปรตีน และอาหารที่มีกากใยอาหารสูง
ทราบหรือไม่ว่าโปรตีนเป็นอาหารที่กินแล้วอยู่ท้องมากกว่าอาหารประเภทอื่น ๆ เพราะใช้เวลาในการย่อยนานกว่า ราว 4-6 ชั่วโมง ในขณะที่อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต หรือแป้งและน้ำตาล จะย่อยเร็วกว่าราว 4 ชั่วโมง หรือเร็วกว่านี้ ดังนั้นหากอยากอิ่มไปนาน ๆ ไม่มาหิวกลางดึก อย่าลืมรับประทานโปรตีนให้มาก ๆ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ นม เต้าหู้ ถั่วต่าง ๆ รวมไปถึงอาหารที่มีกากใยอาหารสูงอย่าง ผักผลไม้ และธัญพืชต่าง ๆ ก็ช่วยให้อยู่ท้องได้นานเช่นเดียวกัน

แบ่งเป็นมื้อย่อยๆ
สำหรับใครที่อาจงานไม่ยุ่งพอที่จะกินข้าวได้ 3 มื้อต่อวันเท่านั้น แต่มีเวลาว่างในตอนบ่ายมากพอให้นั่งกินขนมเล่น เอะอะพักเบรคหาอะไรกินตลอด ๆ แนะนำให้แบ่งมื้ออาหารจาก 3 เป็น 4-6 มื้อแทน แม้ว่าจะไม่ได้ช่วยลดน้ำหนักแต่อย่างใด (เพราะคุณอาจกินอาหารในปริมาณเท่าเดิม) แต่การสับเป็นมื้อเล็ก ๆ กระจายกินไปทั้งวัน อาจช่วยลดความอยากอาหารเพิ่มมากขึ้นในช่วงบ่ายได้ แต่ระมัดระวังอย่ากินมากเกินกว่าปกติก็แล้วกัน

ลดการบริโภคแป้ง และน้ำตาล
อย่างที่บอกว่าอาหารประเภทแป้ง และน้ำตาล หรือคาร์โบไฮเดรต เป็นอาหารที่ใช้เวลาย่อยน้อยกว่าโปรตีน หากเรากินแต่ข้าว หรือขนม แล้วกินโปรตีน หรืออาหารที่มีกากใยอาหารไม่เพียงพอ เราก็เสี่ยงที่จะหิวเร็วกว่าคนอื่น ดังนั้นควรแบ่งสัดส่วนในการกินอาหารไปที่โปรตีนมากกว่าคาร์โบไฮเดรต และหากเลือกกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต ก็จะช่วยให้ร่างกายใช้เวลาในการย่อยอาหารนานขึ้น อิ่มท้องนานขึ้น ดูดซึมน้ำตาลได้ช้าลงด้วย

อย่าทิ้งช่วงเวลามื้อสุดท้ายจนถึงก่อนนอนนานเกินไป
พูดง่าย ๆ ก็คือ อย่านอนดึกนั่นเอง เชื่อเถอะว่าคนที่นอนดึก ๆ ดื่น ๆ มีความเสี่ยงที่จะหิวไวกว่าคนที่เข้านอนแต่หัวค่ำ นอกจากนี้การอดนอนบ่อย ๆ ยังอาจทำให้เราหิวง่ายกว่าคนที่นอนหลับอย่างเต็มอิ่ม และเพียงพออีกด้วย

นอกจากวิธีการกินอาหารแล้ว อย่าลืมออกกำลังกายเป็นประจำ อย่างน้อย 3-5 ครั้งใน 1 สัปดาห์ ครั้งละอย่างน้อย 30 นาที และเพิ่มกิจกรรมระหว่างวันที่ช่วยให้ร่างกายได้ขยับร่างกายมากขึ้น ทั้งวิ่งขึ้นบันได เดินกลับบ้าน ฯลฯ รับรองว่าสุขภาพดีเป็นของคุณได้แน่นอน

ตรวจสุขภาพดวงตา จำเป็นแค่ไหน

เด็กแรกเกิดและทุกช่วงอายุ ตลอดจนกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงและผู้มีโรคประจำตัว ควรได้รับการตรวจสุขภาพดวงตาอย่างน้อยปีละครั้ง
นายแพทย์มานัส โพธาภรณ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า ดวงตาเป็นอวัยวะหนึ่งที่มีความสำคัญ การมีดวงตา สายตาที่ปกติทำให้ประกอบภารกิจประจำวันทั้งเรื่องส่วนตัวและการงานได้อย่างครบถ้วน มีชีวิตที่เป็นสุข สุขภาพจิตดี ครอบครัวมีความสุข อย่างไรก็ตามพบว่าโรคตาหลายชนิดมักเกิดจากโรคซึ่งรักษาได้หากมารับการรักษาตั้งแต่แรกเริ่ม ดังนั้นการตรวจตาจึงเป็นสิ่งจำเป็น แม้ยังไม่มีอาการผิดปกติใดๆ ได้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ได้รับการวินิจฉัยโรคตาที่ไม่มีอาการเตือนได้แต่เนิ่นๆ เพื่อการรักษา ที่เหมาะสม

อายุเท่าไร ควรตรวจตาบ่อยแค่ไหน?
แพทย์หญิงสายจินต์ อิสีประดิฐ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) กล่าวเพิ่มเติมว่า ผู้มีอาการผิดปกติทางตา ควรไปพบจักษุแพทย์ทันทีที่มีอาการ สำหรับผู้ที่ไม่มีอาการผิดปกติ ได้แก่ กลุ่มคนปกติกับกลุ่มคนที่มีปัจจัยเสี่ยงควรได้รับการตรวจเช่นกัน

ในกลุ่มคนปกติ คือ เด็กแรกเกิด กุมารแพทย์จะตรวจร่างกายเป็นประจำ ช่วงอายุ แรกเกิดถึง 5 ปี ควรได้รับการตรวจดวงตา สายตา ภาวะตาเข และป้องกันภาวะตาขี้เกียจ หากตรวจพบการรักษาจะได้ผลดี

ช่วงอายุ 6 – 20 ปี เป็นช่วงวัยเรียนชั้นประถม มัธยม และมหาวิทยาลัย มักมีภาวะสายตาผิดปกติอาจสายตาสั้น ยาว หรือเอียง ซึ่งควรได้รับการแก้ไข

ในช่วงอายุ 20 – 29 ปี เป็นวัยเรียนต่อกับวัยทำงาน อาจไม่พบโรคตามากนักนอกจากมีอาชีพที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ

ช่วงอายุ 30 – 39 ปี เป็นวัยสายตาเริ่มเปลี่ยนแปลงควรได้รับการตรวจสัก 2 ครั้ง

ส่วนช่วงอายุ 40 – 65 ปี เป็นวัยเริ่มเข้าสู่ผู้สูงอายุ อาจพบโรคตาได้ควรได้รับการตรวจ 1-2 ปีต่อครั้ง

และอายุ 65 ปีขึ้นไป มักมีโรคตาที่เสื่อมตามวัยควรตรวจตาปีละครั้ง

กลุ่มเสี่ยงที่ต้องตรวจตาตามเวลาอย่างเคร่งครัด
กลุ่มคนที่มีปัจจัยเสี่ยง ควรตรวจตาอย่างเคร่งครัดตามคำแนะนำ ได้แก่

  1. เด็กเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัม หรืออายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์
  2. ผู้มีปัจจัยเสี่ยงของโรคต้อหิน เช่น สายตาสั้นมาก มีประวัติต้อหินในครอบครัว เคยได้รับการผ่าตัดตามาก่อน
  3. ผู้เป็นเบาหวาน
  4. ผู้มีปัจจัยเสี่ยงต่อจอตาฉีกขาดและหลุดลอก ได้แก่ เคยได้รับอุบัติเหตุทางตา สายตาสั้นมาก มีประวัติโรคนี้ในครอบครัว
  5. ผู้มีโรคทางกายที่ต้องใช้ยาบางตัวต่อเนื่อง เช่น ยารักษาวัณโรค ยารักษาโรคข้อ เป็นต้น

ทราบหรือไม่ว่าโรคตับแข็งอยู่ได้กี่ปี

คุณทราบหรือไม่ว่าโรคตับแข็งอยู่ได้กี่ปี และวิธีการรักษามีอย่างไรบ้าง 

เราต่างรู้วิธีการออกกำลังกายกันอยุ่แล้วว่าต้องออกอย่างไร แต่ใครจะรู้บ้างถ้าหากเราอายุมากขึ้นหรือเราอยากให้พ่อแม่หรือคนที่เรารักที่มีอายุมากขึ้นแล้วออกกำลังกายควรออกอยากไรปัญหาที่เราพบบ่อยๆสำหรับการออกกำลังกายนั้นคือการบากเจ็บ เนื่องจากการไม่วอมอัพร่างกายก่อนไม่ยืดเส้นยืดสาย และการออกกำลังกายไม่เหมาะกับสภาพร่างกายของเราเอง บางคนอยากวิ่ง อยากชกมวยเพราะว่าเป้นกระแส เป็นที่นิยมแต่ร่างกายของเรานั้นไม่พร้อมที่จะทำออกกำลังกายหนักๆแบบนั้น เลยทำให้มีอาการบาดเจ็บตามมาหรือบาดเจ็บเรื้อรัง มีทั้งการบาดเจ็บข้อเข่า ข้อเทา เส้นเอ็น เป็นต้น

การชกมวยนั้นเป้นกีฬาที่เหมาะสำหรับวัยรุ่น หรือคนที่มีอายุไม่อยาก แต่ถ้าหากเรานั้นอายุเกิน 30 ปีขึ้นไปแล้ว อยากลองที่จะชกมวยดูการชกมวยนั้นมีแรงกระแทกมหาสาร ร่างกายจึงระบมและจะมีอาการบาดเจ็บตามมา อาการฟกช้ำนั้น ใช้เวลารักษาไม่นานเท่าไหร่ก็จะหาย แต่ถ้าเป็นอาการบาดเจ็บที่หัวเข่าจากกระดูกอ่อนช้ำหรือหมอนรองกระดูกฉีกขาด จะมีการฟื้นตัวได้ยากมาก

แต่ถ้าหากผู้สูงอายุอยากชกมวยจริงๆ ต้องเริ่มจากการที่ฝึกชกลมก่อน ค่อยๆฝึกท่าทางจนชำนาญแล้วจึงจะค่อยๆขยับเริ่มชกมสวยจากเบาๆ จนทำให้ร่างกายเกิดความคุ้นชิน กล้ามเนื้อพร้อมรับแรงกระแทกจึงจะออกแรงได้มาขึ้น

วิธีการออกำลังกายนั้น คือการต้องค่อยๆเพิ่มน้ำหนัก จะต้องมีท่าท่างในการเคลื่อนไหวร่างกายที่ถูกต้องและจะต้องมีเทคนิคที่ถูกต้องอีกด้วย เพื่อที่จะได้ประสิทธิภาพในการออกำลังกายมากที่สุดและหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บมาก

ค่อยๆเพิ่มเวลาการออกกำลังกาย ค่อยๆขยับเวลาการออกกำลังการ จาก 30 นา ที ค่อยๆเพิ่มขึ้นให้ร่างกายได้ปรับตัว ให้ร่างกายได้กระตุ้นกล้ามเนื้อให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น